คณิตศาสตร์
บูรณาการ
คณิตศาตร์
เทตโลยีสารสนเทศ
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
วันจันทร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันได
(Step Function)
ฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึงฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริงและมีค่าของฟังก์ชันเป็นค่าคงตัวเป็นช่วงๆมากกว่าสองช่วงกราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้น บันได
อ่านเพิ่มเติมที่
https://sites.google.com/site/fashionnn42/fangkchan-khan-bandi
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
1. ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
2.
ฟังก์ชันเชิงเส้น การนำกราฟไปใช้ในการแก้สมการและอสมการ กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง การแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เรื่องฟังก์ชันกำลังสองและกราฟ ฟั
อ่านเพิ่มเติมที่
https://www.slideshare.net/guestce5b9c/ss-2986912
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (Exponential function)
ฟังก์ชันนั้นมีอยู่หลายรูปแบบ แต่ละแบบก็มีการตั้งชื่อไ
ม่เหมือนกัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของฟังก์ชันซึ่งเราจะไปดูว่าฟังก์ชันเอกซ์โพนเนนเชียลนั้นมีรูปแบบอย่างไร ก็ต้องไปดูนิยามของมันครับ ว่านิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลนั้นเป็นอย่างไร
อ่านเพิ่มเติมที่
http://www.mathpaper.net/index.php/5/225-2013-04-03-11-29-58
บทเรียน โดเมนและเรนจ์ โดเมนและเรนจ์
บทเรียน
โดเมนและเรนจ์
โดเมนและเรนจ์
พิจารณาเซตของสมาชิกตัวหน้า และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์เช่น
r = {(1,2),(2,4),(3,6),(4,8),(5,10)}
เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ
r
คือ
{1,2,3,4,5}
เรียกเซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของควา
อ่านเพิ่มเติมที่
http://www.vcharkarn.com/lesson/1478
การนำสมบัติจำนวนจริงไปแก้สมการ
การนำสมบัติจำนวนจริงไปแก้สมการ
ในการเขียนสัญลักษณ์แทนจำนวน นิยมใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น
x, y
แทนจำนวน และเรียกอักษรเหล่านั้นว่า
ตัวแปร
สำหรับตัวเลขที่แทนจำนวน เช่น
1
,2,3
เรียกว่า
ค่าคงตัว
เรียกข้อความในรูปสัญลักษณ์ เช่น
2, 3x, 5+x,
อ่านเพิ่มเติมที่
https://sites.google.com/site/klumkhnitsastr2/bth-thi-3-canwn/karna-smbati-khxng-canwncring-pi-chi-ni-kar-kae-smkar-kalang-sxng
สมบัติจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกการคูณ
สมบัติจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกการคูณ
จำนวนตรรกยะ
(rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้
จำนวนอตรรกยะ
(irrational number) เป็นจำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะซึ่งไม่สามารถเขียนใน
อ่านเพิ่มเติมที่
https://orawanintawong.wordpress.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-1/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88/
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)